คุยกับเลขา

สมัชชาสุขภาพ กับ การปฏิรูปประเทศ

   หลังจากที่รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ ได้เชิญเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติและเลขาธิการสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปหารือพร้อมกัน ถึงปัญหาสถานการณ์กระแสสังคมที่อ่อนล้าต่อขั้นตอน-กระบวนการปฏิรูปประเทศอันยืดเยื้อ (Reform Fatigue)
 
   ในที่สุด การประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้องประชุมภักดีบดินทร์ ทำเนียบรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นประธาน ได้เห็นชอบแผนงานขับเคลื่อนการปฏิรูปที่ฝ่ายเลขานุการนำเสนอรายงาน ที่ว่า
 

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับสุขภาพ

   ในขณะเวลานี้ ต้องถือว่า กระบวนการจัดทำแผนการปฏิรูป 11 ด้านและยุทธศาสตร์ชาติ 6 กลุ่ม ได้มาถึงขั้นตอนที่สามารถมองเห็นเป้าหมายที่เป็นรูปเป็นร่างอย่างมากแล้ว
 
   สภาพัฒน์ หรือ สศช. ในฐานะฝ่ายเลขานุการใหญ่กำลังทำการสังเคราะห์ เชื่อมโยงและตรวจตราแผนปฏิรูปทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง ก่อนนำเข้าสู่ที่ประชุมร่วมของประธานและเลขานุการทั้ง 11 คณะในเดือนกุมภาพันธ์ ขณะเดียวกันก็ต้องจัดให้มีเวที 4 ภูมิภาคเพื่อรับฟังความเห็นต่อร่างยุทธศาสตร์ชาติตามที่กฎหมายกำหนดอีกด้วย
 

“คือเครื่องมือของประเทศ”

   ในช่วง 7 ปี ก่อนมีพรบ.สุขภาพแห่งชาติ ระหว่างที่มีการผลักดันพรบ.สุขภาพแห่งชาติ เรามุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจใหม่แก่สังคมเรื่อง”สุขภาพมิติกว้าง” และย้ำแนวทางใหม่”สร้างนำซ่อม” ในขณะเดียวกันต้องมุ่งสร้างกระแสกดดันทางสังคมให้รัฐบาลออกเป็นกฎหมาย เพื่อเป็นเครื่องมือใหม่ของสังคม
 

“ซื่อตรง โปร่งใส”

   ซื่อตรง เที่ยงธรรม (I- Integrity and Righteousness) เป็นค่านิยมหลักประการหนึ่งของ สช. ตามที่เรียกขานจดจำกันง่ายๆว่า S-O-C-I-A-L
 
   ผลคะแนนการประเมินดัชนีความซื่อตรง โปร่งใส (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ที่ ปปช. เพิ่งประกาศเมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน เป็นมาตรการและความพยายามส่วนหนึ่ง ในการแก้ปัญหาทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาลของหน่วยงานรัฐ และเป็นสิ่งที่ สช.ให้ความสนใจติดตามเพื่อใช้ประโยชน์
 

สู่ทศวรรษที่สอง

   ในเวทีวิชาการ 10 ปี พรบ. สุขภาพแห่งชาติ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 มีภาคีเครือข่ายสุขภาพจากทั่วประเทศและสื่อมวลชนมาร่วมงานกันอย่างอบอุ่นคึกคัก จนแน่นห้องประชุมสถาบันจุฬาภรณ์ ทำให้เวทีเกิดพลังแห่งความหวังและจินตนาการที่จะก้าวต่อไปข้างหน้า
 
   ผมต้องกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ผู้ใหญ่หลายท่านที่กรุณามาร่วมให้ความคิดมุมมองที่ทรงคุณค่าและแสดงความยินดี ให้กำลังใจกับพวกเราชาว สช. สุชน คนใฝ่ดี
 

ประภาคาร ในคืนฟ้าคะนอง

   ผลจากการทำงานหนักของพนักงานและผู้บริหารทุกคนในช่วงปีที่ผ่านมา ทำให้การเดินทางตามแผนงานหลักฉบับที่ 3 ของ สช. สามารถทำระยะทางมาได้ค่อนข้างไกล
 
   จากเป้าหมายของแผนฯที่กำหนดว่า ภายใน 5 ปี ต้องมีนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมเกิดขึ้น 500 เรื่อง และในจำนวนนี้ ร้อยละ 25 จะต้องแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม
 

คือสำนักคิด คือสะพานเชื่อม

   ในภาพรวมผลการปฏิบัติงานของ สช. ภายใต้การปริหารงานของ นพ.พลเดช ปิ่นประทีป ในปีที่ 1 ดังรายละเอียดในรายงานสาธารณะที่เผยแพร่ทางเว็บไซต์ www.nationalhealth.or.th
 
   มีผลงานที่สำคัญแบ่งได้เป็น 6 ประเภทประกอบด้วยตัวชี้วัด 30ด้านและมีผลผลิตรูปธรรม จำนวน 74ตัวชี้วัดซึ่งช่วยทำให้เห็นศักยภาพและโอกาสในการขับเคลื่อนภารกิจของ สช.ในช่วงต่อไปได้ชัดขึ้น
 

แง่คิดจากสมัชชาองค์การอนามัยโลก

   ไปร่วมประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกเป็นครั้งแรกในเที่ยวนี้ (WHA 70) ผมตั้งคำถามไปจากบ้านว่าจะไปหาคำตอบเรื่องอะไรบ้าง ซึ่งก็ได้ทั้งข้อมูล ความรู้และประสบการณ์ตรงที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนางานของ สช. โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติของเรา (NHA)
 

"ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ : คำประกาศจาก Adelaide"

   กระแสความเคลื่อนไหวระบบสุขภาพในระดับโลก กำลังชูประเด็น"ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ" (Health in All Policies : HiAP) ให้เป็นแนวทางการบูรณาการงานพัฒนาสุขภาพ และยกประเด็นSustainable Development Goals(SDG) ขึ้นเป็นเป้าหมายร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน อันสอดคล้องกับงานของ สช. และภาคีเครือข่ายในบ้านเรา
 

ประเด็นคานงัดจังหวัด : Local Reform Agenda

   สช. เป็นองค์กรที่ถือกำเนิดและพัฒนาการมาตามลำดับ มีภารกิจหลักคือการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันได้ขยายบทบาทจากระบบสุขภาพสู่การปฏิรูปสังคม สุขภาวะ อันเกี่ยวข้อง เชื่อมโยงและครอบคลุมไปถึงทุกปัจจัยที่กำหนดสุขภาพ(social determinants of health)
 

หน้า