สิทธิการตาย

วางแผน “ตายดี” ทางเลือกสร้างสุขปั้นปลาย

   งานสร้างสุขที่ปลายทางครั้งที่ 3 ชวนแพทย์ร่วมเล่าประสบการณ์ว่าครอบครัวควรทำอย่างไรเมื่อต้องดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ควรบอกความจริงหรือไม่ บอกข่าวร้ายอย่างไร ตัดสินใจแบบไหนดีในช่วงท้าย ร่างกาย จะทรมานแค่ไหน ฯลฯ รวมถึงแนวทางในภาพใหญ่ที่ควรผลักดันระบบอาสาสมัครและให้ ‘ ชุมชน’ มีส่วนร่วมในเรื่องนี้...
 

‘การตายดี’ สิทธิที่ทุกคนต้องเข้าถึง

   “ในการทำงาน การที่หมอส่วนใหญ่ไม่ได้รับการอบรมเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง (palliative care) สำหรับผู้ป่วยระยะท้าย ไม่ค่อยมีในหลักสูตรแพทยศาสตร์ในโรงเรียนแพทย์ว่าผู้ป่วยแบบไหนคือผู้ป่วยระยะท้าย หมออาจไม่เข้าใจ จึงต้องมีคำจำกัดความถึงผู้ป่วยลักษณะนี้ ว่าการอยู่ในระยะท้าย หมายถึงการมีชีวิตอยู่ได้อีกกี่เดือน หมอจะได้ตระหนักว่านี่คือ palliative แล้วส่งผู้ป่วยเข้ารับบริการซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตัวเขาเอง”
 

งานสร้างสุขที่ปลายทาง ปีที่ 2 เดินหน้าขับเคลื่อนนโยบายตายดี ภารกิจร่วมของทุกภาคส่วน

   คณะทำงานสร้างสุขที่ปลายทางพร้อมนำทุกภาคส่วนขับเคลื่อนนโยบายตายดีและพัฒนาระบบดูแลแบบประคับประคอง วงเสวนาชี้การถอดเครื่องพยุงชีวิตต่างๆ ในช่วงวาระสุดท้าย คือ การทำบุญครั้งสุดท้ายให้ผู้ป่วยได้จากไปอย่างสงบ
 

เชิญชวนตอบแบบสอบถาม

   สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) มีกำหนดการจัดอบรมวิชาการให้แก่บุคลากรสถานบริการสาธารณสุขที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการดูแลแบบประคับประคองให้มีความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติในเรื่องการแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.

ความตายสายอินดี้

     ...สายพันธุ์ใหม่ คือหนึ่งแขกรับเชิญที่มีทัศนคติเปิดกว้างและเป็นตัวของตัวเอง เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นในวงเสวนา “มุมมองความตายสายอินดี้” ในการประชุม “สร้างสุขที่ปลายทาง” จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) และองค์กรภาคีเครือข่ายเจ้าภาพร่วม โดยงานจะจัดขึ้นในวันที่ 1-2 ธ.ค. 2559 ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาตสิริกิติ์ โดยผู้กำกับชื่อดังได้เปิดประเด็นไว้อย่างน่าสนใจว่า “ความตายนั้นไม่ได้น่ากลัวอย่าง...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

สุขภาวะที่ปลายทางชีวิต

     พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ ความตายเป็นสัจธรรมของชีวิตที่มนุษย์ทุกคนไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ และเมื่อวาระนั้นมาถึงหากเลือกได้ ทุกคนคงต้องการที่จะตายอย่างสงบ ไม่มีความทุกข์ทรมานและหมดห่วงกังวล การเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับความตายจึงเป็นเรื่องที่มนุษย์เราต้องศึกษาเรียนรู้ เพราะนอกจากตัวเราเองแล้ว ยังมีองค์ประกอบสำคัญอื่นๆ มาเกี่ยวข้องด้วย เช่น ระบบบริการสุขภาพ การรักษาพยาบาลในช่วง...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

ครบ 1 ปีใช้สิทธิตายดี ยังไม่ค่อยกล้าใช้สิทธิ

     ...ไม่เคยปรากฏว่ามีการเรียนการสอนถึงนิยามและความหมายของคำว่า “บริการสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากความเจ็บป่วย” ตามที่ปรากฏอยู่ในมาตรา 12 ของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 และกฎกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งระบุไว้ใจความว่า “บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนา ไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

หน้า