สิทธิการตาย

แก่-ตายอย่างมีศักดิ์ศรีในระบบสุขภาพไทย

     นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ในวาระ 100 ปีชาตกาลท่านอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ หลายคนคงคิดถึงข้อเสนอ "คุณภาพแห่งชีวิตปฏิทินแห่งความหวัง : จากครรภ์มารดาสู่เชิงตะกอน" ของท่านอาจารย์ที่แม้เขียนไว้กว่า 40 ปีมาแล้วแต่ยังทันสมัย ในหลายแง่มุม ท่านพูดถึงการตายไว้น่าสนใจ ดังนี้ "เมื่อตายก็ขออย่าให้ตายอย่างโง่ๆ อย่างบ้าๆ คือตายในสงครามที่คนอื่นก่อให้เกิดขึ้น ตายในสงครามกลางเมือง ตายเพราะอุบัติเหตุรถยนต์ ตายเพราะน้ำ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

พินัยกรรมชีวิตจุดเปลี่ยนคนข้างหลัง

     เมื่อไม่นานมานี้...ญาติทางคุณยายที่ต่างจังหวัด อายุ 80 กว่า หกล้มในห้องน้ำ หยุดหายใจไป 10 กว่านาที ปั๊มหัวใจ...ตอนนี้ไม่รู้ตัว ต้องย้ายจากโรงพยาบาลรัฐไปอยู่โรงพยาบาลเอกชน เสียค่าใช้จ่ายวันละเกือบ 2 หมื่นบาท ...เป็นประเด็นสำคัญ ที่ควรรู้ในเรื่อง “การทำพินัยกรรมชีวิต” หรือ “Living Will” ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ บอกว่า เรื่องนี้อาจไม่เกี่ยวกับเรื่องกฎหมายธุรกิจ หรือเรื่องการทำพินั...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

เสวนาทรรศนะสุขภาพ

     สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ จัดเสวนา "ทรรศนะใหม่ต่อการเจ็บป่วย ความทุกข์ และการตายในสังคมไทย" ในวันที่ 24 มิ.ย.2559 เวลา 08.00-17.00 น. ณ ห้องประชุมจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปกรำไพพรรณี จุฬาฯ โดยมีปาฐกถาพิเศษ และการเสวนาในหัวข้อ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

สิทธิการตายตามธรรมชาติ

มาตรา 12 ใน พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มาจากแนวคิดที่ว่า " ความตายเป็นหน้าที่ตามธรรมชาติของมนุษย์อย่างไม่มีใครจะปฏิเสธได้ " แต่ด้วยสภาพสังคมอันเร่งรีบในปัจจุบัน ทำให้เรานึกถึงความตายในมิติเดียว คือ ความเจ็บป่วยทรมาน ความพลัดพราก ความตายจึงเป็นเรื่องน่ากลัว อัปมงคลที่ต้องเอาชนะให้ได้ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงนำไปสู๋...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

การเดินทางของความตาย

...จำนงไว้ล่วงหน้าได้ หรือบางครั้ง เรียกว่า Advance Directives คือการระบุแนวทางปฏิบัติทางการแพทย์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งในหลายประเทศมีกฎหมายรับรองในเรื่องนี้" ศาตราจารย์แสวง บุญเฉลิมวิภาส ที่ปรึกษาศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ ผู้อำนวยการศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ และกรรมการกฤษฎีกา กล่าวไว้ในบทความ "การรักษาพยาบาลผู้ป่วยวาระสุดท้าย ความจริง ทางการแพทย์กับขอบเขตทางกฎหมาย" จากหนังสือ "ดุลพาห" แน่นอนว่า...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

'สิทธิสุดท้าย'แห่งชีวิต

     เปิดแนวคิดสิทธิผู้ป่วยเลือกปฏิเสธการรักษาในวาระสุดท้ายของชีวิต ตามมาตรา 12 ของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ซึ่งผ่านมา 8 ปีแล้ว พบว่า มีคนไทยใช้สิทธิไม่ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากคนส่วนใหญ่ยังไม่รู้ถึงสิทธิดังกล่าว ขณะเดียวกัน ในวงการแพทย์ยังมีข้อถกเถียง แพทย์จำนวนหนึ่งมองว่า กฎหมายฉบับนี้ ขัดจรรยาบรรณ และยังผลักภาระความรับผิดชอบมาให้แพทย์ โดยเฉพาะหากเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด เมื่อผู้ป่วยยังไม่...อ่านรายละเอียดบทความทั้งหมด

เรียนรู้'มาตรา12'พ.ร.บ.สุขภาพฯ'ตาย'...สิทธิที่คุณเลือกได้

   ใจรักษา เมื่อผู้ป่วยรู้ตัวดีว่าถึงเวลาต้องก้าวสู่ “ปรภพ” ไม่อยากทุกข์ทรมานอีก จึงร้องขอให้ช่วยทำให้เขาจากไป แต่แพทย์ทำไม่ได้ เพราะผิดกฎหมายและจรรยาบรรณ ด้วยเหตุผลข้างต้นจึงเป็นที่มาของแนวคิดเรื่อง“สิทธิการตาย” (Right to Die) สิทธิการกำหนดวาระสุดท้ายของชีวิตด้วยตัวเอง!!! “สิทธิการตาย” เป็นสิทธิที่คนไทยได้รับตั้งแต่ปี 2550 ตามมาตรา 12 แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกที่บัญญัติการ...  อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

หน้า