นโยบายสาธารณะ

ก่อ-ร่าง-สร้าง-เคลื่อน ธรรมนูญสุขภาพ

     ความสุขพื้นฐานอย่างหนึ่งของสังคม คือ การที่ผู้คนในชุมชนต่างมีสุขภาวะที่ดี ตลอดช่วง 5 ปีของการใช้ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552 ซึ่งก่อกำเนิดตามเจตนารมย์ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มุ่งหมายให้คนไทยมีคุณภาพชีวิต ทั้งทางกาย จิต ปัญญา และสังคม เป็นธงที่โบกสะบัดบอกทิศทางการเดิมในอนาคต และให้สัญญาณว่า...ถึงเวลาแล้วที่สุขภาวะวิถีจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น แนวคิด "สร้างสุขภาพ นำซ่อมสุขภาพ" และกระบวนการ "แลกเปลี่ยน เรียนรู้" ได้รับการตอบสนองจากทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยราชการ ประชาสังคม และนักวิชาการ ไปจนถึงคนเล็กคนน้อยในสังคมที่เคยตกสำรวจ ก็เข้าถึงระบบสุขภาพได้อย่างมีศักดิ์ศรีเท

นโยบายสาธารณะ สมัชชากินได้

 ผมไปน่านเมื่อไม่นานมานี้ ที่นั่น มีการใช้กระบวนการ “สมัชชาสุขภาพ” เป็นเครื่องมือ ชวนผู้คนหลากหลายภาคส่วน มาร่วมกันทำงานพัฒนานโยบาย สาธารณะเพื่อสุขภาพ ทั้งที่ระดับ จังหวัด และระดับพื้นที่ เรียกชื่อว่า สมัชชาสุขภาพ บ้าง เรียกชื่ออย่างอื่นบ้าง ที่ ต.เปือ อ.เชียงกลาง ชุมชนที่นั่นรวมตัว ร่วมคิด ร่วมทำ ทั้ง อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน รพ.สต. โรงเรียน วัด และประชาคมกลุ่ม ต่างๆ เต็มไปหมด  
 
 จัดทำนโยบายสาธารณะดีๆ เพื่อสุขภาพ มีการออกกติกาชุมชน เป็น “สัญญาประชาคม” ว่าในงานบุญ งานศพ ไม่มีเหล้าเบียร์ ไม่มีอบายมุข ไม่มีน้ำอัดลม ไม่มีสิ่งทำลายสุขภาพ 
 

เดินหน้าเน้นคุณภาพข้อเสนอ ๖ ระเบียบวาระสำคัญสู่นโยบายสาธารณะ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่๗

นายเจษฎา มิ่งสมร ประธานกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ (คจ.สช.) เปิดเผยว่า การประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๗พ.ศ.๒๕๕๗จัดระหว่างวันที่ ๒๔-๒๖ธ.ค.๒๕๕๗ ณ อิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี ภายใต้แนวคิด “เดินหน้าสมานฉันท์ ร่วมกันปฏิรูป สังคมสุขภาวะ” ใน ๖ประเด็น ประกอบด้วย ๑.การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อบูรณาการกลไกคุ้มครองเด็ก เยาวชน และครอบครัว จากปัจจัยเสี่ยง ๒.การจัดการสเตอรอยด์ที่คุกคามสุขภาพคนไทย ๓.การพัฒนากระบวนการประเมินและการตัดสินใจใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ ๔.การกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในประชาชน ๕.การจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพโลกของประเทศไทย และ๖.ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชา

สช.– มหิดล จับมือพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม หวังสร้างสุขภาวะแก่ประชาชนและสังคมไทย

   วานนี้ (19 ธ.ค.2557) ที่สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้มีพิธีลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมระหว่าง คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) อันเป็นความร่วมมือเพื่อนำไปสู่การสร้างสุขภาวะแก่ประชาชนและสังคมไทยลงนามระหว่าง น.พ.อำพลจินดาวัฒนะ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กับ รศ.ดร.กัมปนาทภักดีกุล คณบดีคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี น.พ.วิพุธพูลเจริญ ประธานกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ร่วมเป็นสักขีพยาน
 

สุขภาพโดยคนทั้งมวล

ช่วงที่ผ่านมา ผมได้ไป เรียนรู้การพัฒนาและขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพใน พื้นที่หลายแห่ง บอกได้ว่า ถึงวันนี้ ระบบสุขภาพเปลี่ยนไปมาก ไม่ใช่ เป็นระบบที่รอใครทำให้ จากบนลง ล่างอย่างเดียวแบบในอดีตอีกแล้ว เรื่องสุขภาพหรือสุขภาวะ ได้กลายเป็นเรื่องของทุกคน ทุก ภาคส่วน เข้ามาร่วมกันทำ ร่วมกัน เป็นเจ้าของมากขึ้นตามลำดับ 

ร่วมด้วยช่วยกัน ผลักดันปฏิรูป

ต้องขอขอบคุณ คณะ กรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) ที่มีมติเมื่อวันที่ ๘ ส.ค. ๒๕๕๗ เสนอชื่อ ดร.ศิรินา ปวโรราฬวิทยา กรรมการสุขภาพแห่งชาติ และผม เข้ารับการคัดเลือกเป็น สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) เพื่อทำ หน้าที่ดูแลการจัดทำรัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่ และขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไทยด้านต่างๆ และต้องขอ ขอบคุณคณะกรรมการสรรหาและ คัดเลือก ที่คัดเลือกให้เราทั้ง ๒ คน เข้าไปเป็น สปช. ด้านสังคม เพื่อ ทำงานให้ประเทศชาติครับ 

หน้า