เกาะสถานการณ์สุขภาวะ

ปั่นเพื่อแม่ของแผ่นดิน ปั่นเพื่อสุขภาวะคนไทย

   ผมเฝ้าติดตามข่าวคนไทยนับแสน ลงทะเบียนร่วมกิจกรรม "ไบค์ ฟอร์ มัม ปั่นเพื่อแม่" เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนทพรรษา 83 พรรษา สมเด็จพระจางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ...แม่ของแผ่นดิน แล้วอดปลื้มใจไม่ได้ เมื่อกระแสการใช้จักรยาน เพื่อสุขภาพและการออกกำลังกายกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นทุกขณะ  อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

เรียนรู้'มาตรา12'พ.ร.บ.สุขภาพฯ'ตาย'...สิทธิที่คุณเลือกได้

   ใจรักษา เมื่อผู้ป่วยรู้ตัวดีว่าถึงเวลาต้องก้าวสู่ “ปรภพ” ไม่อยากทุกข์ทรมานอีก จึงร้องขอให้ช่วยทำให้เขาจากไป แต่แพทย์ทำไม่ได้ เพราะผิดกฎหมายและจรรยาบรรณ ด้วยเหตุผลข้างต้นจึงเป็นที่มาของแนวคิดเรื่อง“สิทธิการตาย” (Right to Die) สิทธิการกำหนดวาระสุดท้ายของชีวิตด้วยตัวเอง!!! “สิทธิการตาย” เป็นสิทธิที่คนไทยได้รับตั้งแต่ปี 2550 ตามมาตรา 12 แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกที่บัญญัติการ...  อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

พลังงานเดือดยับยั้งโรงไฟฟ้าถ่านหิน

   ก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินที่จังหวัดกระบี่มูลค่าเกือบ 5 หมื่นล้านบาท ทั้งที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติในคณะกรรมการและคณะรัฐมนตรี (ครม.) อีกทั้งยังไม่ผ่านการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) และผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) ในชุมชนเสียด้วยซ้ำ ผู้บริหารพลังงานมักชอบประโคมข่าวพลังงานจะขาดแคลนเสมอๆ ให้ประชาชนตื่นตระหนกตกใจไว้ก่อน เสมือนเป็น "กลยุทธ์สร้างราคาพลังงาน" ควบคู่กับการโฆษณาเร่งเร้า "ต้องสร้างโรงไฟฟ้า...  อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

สบส.เตรียมขับเคลื่อน'กม.อุ้มบุญ'บังคับใช้30ก.ค.-ตั้ง'กคทพ.'

   นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวถึงกรณีพ.ร.บ.คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ หรือ พ.ร.บ.อุ้มบุญ ว่า กฎหมายดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้หลังวันที่ 30 ก.ค. ขณะนี้อยู่ระหว่างการเตรียมความพร้อม เมื่อบังคับใช้แล้ว จะต้องตั้งคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ (กคทพ.) มีปลัดสธ....  อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

เตรียมปรับปรุงกฎหมายเหล้าทันยุคขีดวงวันเวลาห้ามขายห้ามดื่มลักษณะวิธีซื้อ-ขายต้องห้าม

    สาธารณสุข สธ.เร่งปกป้องเยาวชนจากการดื่มสุรา ต้นเหตุสำคัญ พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอออล์ พ.ศ.2551 ให้ทันสมัย ครอบคลุมการขายรูปแบบใหม่ๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ขายตรง รวมทั้งกำหนดวัน-เวลา ห้ามขาย ห้ามดื่ม และลักษณะหรือวิธีการขายที่ต้องห้ามเพิ่มเติม
 

สบส.ชี้คลิปช่วยชีวิต “แตงโม” ผิด กม.จี้ รพ.เอกชนแจงปล่อยให้ถ่ายขณะรักษา

    สบส. ฟันธง เพื่อนรักถ่ายคลิปช่วยชีวิต “แตงโม” ในห้องฉุกเฉินผิดกฎหมาย ละเมิดสิทธิผู้ป่วย จี้ รพ.เอกชน แจงปล่อยให้มีการถ่ายขณะรักษา หากรู้เห็นเป็นใจผิดด้วย มีโทษทั้งจำทั้งปรับ
 

ธรรมนูญสุขภาพ ต.แสงสว่าง จ.อุดรธานี ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไปสู่ชุมชนในฝัน

     หากชุมชนใดร่วมไม้ร่วมมือกันอย่างดี ประชาชนที่นั่นมีความผาสุกเสมอ....ความจริงที่เราสัมผัสได้ที่ ต.แสงสว่าง อ.หนองแสง จ.อุดรธานี เมื่อได้ชื่อว่าเป็นคนแสงสว่าง ชาวบ้านร้านตลาด หรือข้าราชการสังกัดน้อยใหญ่ ต่างพร้อมใจกันทำงานด้วยจิตสำนึกสาธารณะ เพื่อหวังที่จะเห็นชุมชนของตนเองดีขึ้น “ทุกคนรู้ว่า ประโยชน์ส่วนรวม คือ ประโยชน์ของคนในชุมชน” สมาน เสโส นายกองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) แสงสว่าง ระดมหัวจิต หัวใจ ของผู้คน มาร่วมกันทำงานอย่างเข้มแข็ง โดยจุดประกาย ธรรมนูญสุขภาพตำบล เป็นหนึ่งในเครื่องมือ “สร้างสุข-ลด ทุกข์”ให้กับพื้นที่นี้ น้ำหนึ่งใจเดียวกันจึงเกิดขึ้นแบบ ข้ามสาขา ข้ามสังกัด ทั้งองค์การ

สู่ความสุขที่ยืนยาว...ธรรมนูญสุขภาพชาวอำเภอสูงเม่น

     รอยยิ้มใสๆ ของชาว อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ปรากฎขึ้นอย่างเด่นชัดในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา หลังผู้คนในชุมชนทั้ง 12 ตำบล ร่วมจิตร่วมใจกันยกร่าง ธรรมนูญสุขภาพอำเภอสูงเม่น ขึ้นมา และประกาศเป็นพันธะสัญญา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2552 ธรรมนูญฉบับนี้เปรียบได้กับ แผนแม่บทด้านสุขภาพ ของพื้นที่เล็กๆแห่งนี้ ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่อยู่ในภาคเกษตรและหัตถกรรมฝีมือ เช่น การแกะสลักไม้ ในทศวรรษที่ผ่านมา ความเป็นเมืองและชนบทมาใกล้กัน วิถีทุนนิยมเปลี่ยนชีวิตของคนสูงเม่นให้เริ่มเคร่งเครียด คำว่า "ปัจจัยสี่" เริ่มไม่เพียงพอต่อความต้องการ ในที่สุดก็กลายเป็น "ปัจจัยเสี่ยง" ทางสุขภาพ พฤติกรรมทั้งเรื่องการบริโภคอาหาร ขาดกา

ก่อ-ร่าง-สร้าง-เคลื่อน ธรรมนูญสุขภาพ

     ความสุขพื้นฐานอย่างหนึ่งของสังคม คือ การที่ผู้คนในชุมชนต่างมีสุขภาวะที่ดี ตลอดช่วง 5 ปีของการใช้ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552 ซึ่งก่อกำเนิดตามเจตนารมย์ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 มุ่งหมายให้คนไทยมีคุณภาพชีวิต ทั้งทางกาย จิต ปัญญา และสังคม เป็นธงที่โบกสะบัดบอกทิศทางการเดิมในอนาคต และให้สัญญาณว่า...ถึงเวลาแล้วที่สุขภาวะวิถีจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น แนวคิด "สร้างสุขภาพ นำซ่อมสุขภาพ" และกระบวนการ "แลกเปลี่ยน เรียนรู้" ได้รับการตอบสนองจากทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยราชการ ประชาสังคม และนักวิชาการ ไปจนถึงคนเล็กคนน้อยในสังคมที่เคยตกสำรวจ ก็เข้าถึงระบบสุขภาพได้อย่างมีศักดิ์ศรีเท

หน้า