เกาะสถานการณ์สุขภาวะ

สธ.ปรับกลยุทธ์พัฒนาระบบบริการตรงตามปัญหา

     ศ.นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร รมว.สาธารณสุข (สธ.) ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ว่า ปี 2559 มุ่งเน้นให้เขตสุขภาพทั้ง 13 เขตเลือก 3 อันดับที่เป็นปัญหาสุขภาพเพื่อนำมาวางแผนพัฒนาระบบและให้การรักษาเบ็ดเสร็จภายในเขตสุขภาพ เช่น มะเร็งท่อน้ำดี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเป้าหมายคือ ลดป่วย ลดตาย ลดแออัดในบริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและลดระยะเวลารอคอยในการให้บริการ นอกจากนี้ กำหนดให้...อ่านรายละเอียดบทความทั้งหมด

'สิทธิสุดท้าย'แห่งชีวิต

     เปิดแนวคิดสิทธิผู้ป่วยเลือกปฏิเสธการรักษาในวาระสุดท้ายของชีวิต ตามมาตรา 12 ของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ซึ่งผ่านมา 8 ปีแล้ว พบว่า มีคนไทยใช้สิทธิไม่ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากคนส่วนใหญ่ยังไม่รู้ถึงสิทธิดังกล่าว ขณะเดียวกัน ในวงการแพทย์ยังมีข้อถกเถียง แพทย์จำนวนหนึ่งมองว่า กฎหมายฉบับนี้ ขัดจรรยาบรรณ และยังผลักภาระความรับผิดชอบมาให้แพทย์ โดยเฉพาะหากเป็นการตัดสินใจที่ผิดพลาด เมื่อผู้ป่วยยังไม่...อ่านรายละเอียดบทความทั้งหมด

รายงานมลพิษรง.ไฟฟ้าถ่านหิน

     เมื่อวันที่ 19 พ.ย. ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมแถลงเปิดเผยรายงาน เรื่องต้นทุนชีวิต โรงไฟฟ้าถ่านหินกับภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนไทย โดยมีนายสุริชัย หวันแก้ว คณะกรรมการสุขภาพของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และผอ.ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาฯ น.ส.จริยา เสนพงศ์ ผู้ประสานงานรณรงค์ด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลง...อ่านรายละเอียดบทความทั้งหมด

9 วิธีพูดถึง'ความตาย'ให้ธรรมดา

     เมื่อพูดถึง "ความตาย" คนส่วนใหญ่อาจจะยังรู้สึกว่าเป็นเรื่องอัปมงคล จึงหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึงหรือนำมาพูดคุยกัน ในขณะที่วงสนทนาของแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายกลับมีความเห็นว่า "หากใครที่ได้ลองคิด ลองคุยถึงความตาย และมีการวางแผนชีวิตในช่วงวาระสุดท้ายได้ดี ก็มีโอกาสที่คนๆ นั้นจะสามารถจากโลกนี้ไปได้อย่างสงบ" เอกภพ สิทธิวรรณธนะ ผู้จัดการโครงการความตายพูดได้ เครือข่ายพุทธิกาให้คำแนะนำถึงวิธีการพูดคุยเรื่องความตายไว้ 9 ข้อ ดังต่อไปนี้ ...อ่านรายละเอียดข่าวตัดทั้งหมด

ธรรมนูญสุขภาพคลองอาราง หมู่บ้าน 4 ดี วิถีพอเพียง

     “ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนนั้น ไม่มีใครแก้ได้ ถ้าไม่ใช่คนในชุมชนเอง” บ้านคลองอาราง อ.เมือง จ.สระแก้ว เป็นหนึ่งในชุมชนที่เคยประสบปัญหาสารพัด ทั้งสุขภาพ การพนัน ยาเสพติด เหล้า บุหรี่ และผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ยิ่งนานวัน ยิ่งสร้างผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและวิถีชุมชนดั้งเดิม ทำให้ พัฒนา พรมเผ่า ผู้ใหญ่บ้านคลองอาราง ได้นำแนวทาง “ธรรมนูญสุขภาพ” เข้ามาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหา จุดเด่นสำคัญที่นำธรรมนูญสุขภาพมาใช้ คือ กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ได้คิด ตัดสินใจ กำหนด “ข้อตกลงร่วม” แก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน...

‘ธรรมนูญสุขภาวะโรงเรียน’ เพื่อรอยยิ้มลูกหลานของเรา

     ถ้าแววตาของเด็กนักเรียนที่เปล่งประกาย ถ่ายทอดออกมาเป็นถ้อยคำได้ พวกเขาคงอยากบอกผู้ใหญ่ ให้ช่วยแก้ปัญหาหลายเรื่องที่กระทบกระเทือน สุขภาวะ ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา ภัยคุกคามสุขภาพ มิได้บั่นทอนภาพรวมสังคมไทย แต่ยังแทรกซึมไปถึง โรงเรียนชั้นประถมศึกษา ไม่ว่าสภาพแวดล้อม พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ยาเสพติด ร้านเกมส์ และการใช้สารเคมีทางการเกษตร แนวคิด “ธรรมนูญสุขภาวะโรงเรียนเพื่อลูกหลานของเรา” จึงถูกริเริ่มขึ้นเพื่อเป็นแผนแม่บทให้กับชุมชน และโรงเรียน ตามแนวทางของ “ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552” ภายใต้ “พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550”...

สร้างโรงไฟฟ้าขจัดขยะเกาะสมุย..อย่าให้คนพุนพินต้องรับผลกระทบ

     สุวรรณี บัญฑิศักดิ์ ปัญหาขยะเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นวาระแห่งชาติที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี สั่งให้นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ ผู้ว่าฯสุราษฎร์ธานี เร่งแก้ไขให้แล้วเสร็จ เนื่องจากเกาะสมุยเป็นเมืองท่องเที่ยวขึ้นชื่อระดับโลก แต่ทันทีที่ชาวบ้านทราบข่าวจะมีการขนขยะจากเกาะสมุยมากำจัดด้วยการแปรสภาพเป็นพลังงานไฟฟ้าชีวมวลกำลังผลิต 9.9 เมกะวัตต์ โดยจะมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่ริมคลองท่าสะท้อน...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

วิบากกรรมหมอตระกูล ส.

     งบ 30 บาทเป็นภาระ ต้องหาวิธีให้คนรวยสละสิทธิ์หรือให้ร่วมจ่าย สื่อทั้งหลายที่เคยเห็น สปสช.หมอชนบท เป็นพระเอกแต่ฝ่ายเดียว ตอนนี้กลับไล่บี้ สปสช.เอาเป็นเอาตาย สถานการณ์นี้ต่างกับรัฐประหาร 2549 ที่แพทย์ตระกูล ส. ได้อำนาจเบ็ดเสร็จ หมอมงคล ณ สงขลา เป็นรัฐมนตรี หมอวิชัย โชควิวัฒน เป็นประธานบอร์ดองค์การเภสัช ร่วมกับหมอสงวน นิตยารัมภ์พงศ์ เลขาธิการ สปสช.ทำ CL หักคอบริษัทข้ามชาติจนยาละลายลิ่มเลือดเม็ดละ 80...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

ทต.บ้านค้อ ตำบลสุขภาวะและสมัชชาสุขภาพตำบลต้นแบบยกระดับมาตรฐานการให้บริการด้านสุขอนามัยทั้งตำบลเทียบชั้นชุมชนเมือง

     สุวรรณ ไตรมาลัย,สมบูรณ์ กลิ่นขจร/ขอนแก่น แนวคิดของตำบลสุขภาวะ อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนาสุขภาพแบบองค์รวมด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสติปัญญาโดยเป็นการบูรณาการเชิงพื้นที่เป็นตัวตั้ง มีกลไกที่สำคัญในระดับตำบลเป็นแรงขับเคลื่อน ซึ่งจะประกอบด้วยองค์กรชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่จะต้องเรียนรู้ในการทำงานร่วมกันในการสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายใต้กรอบแนวทางการทำงานใน 4 รูปแบบหลัก...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

วัสกดุก่อสร้างภูมิภาคสู่ความหวัง'เมืองไทยปลอดใยหิน'ในอนาคต

     เพราะเหตุผลสำคัญคือความเสี่ยงต่อ โรคร้ายอย่าง "มะเร็งเยื่อหุ้มปอดในมนุษย์" กระแสแห่งความห่วงใยในสุขภาพของ ทุกฝ่าย จึงแพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว ไม่เว้น แม้แต่ในพื้นที่นอกเมืองหลวง ทั้งในปริมณฑล และในจังหวัดใหญ่ๆ ทั่วประเทศ ที่ในปัจจุบัน วัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง มีการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์ ซึ่งเกิดจากสารแทนแทนแร่ใยหิน เริ่มได้รับความนิยม และยอมรับให้เข้ามาแทนที่ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแร่ใยหิน และกลายเป็นที่...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

หน้า