เอชไอเอ

ระดมเครือข่ายแนะกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาบุคลากร ผ่านกลไก “ประเมินผลกระทบ”

   สช. จัดประชุมคู่ขนาน ประชุมวิชาการนานาชาติระดับอาเซียน ระดมเครือข่ายภาครัฐ วิชาการ เอกชน ประชาชน แนะแนวทางการประเมินผลกระทบ การพัฒนาบุคลากร กลไกสร้างความยั่งยืน ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด
 

TPP ข้อตกลงผูกขาดทรัพยากรชีวภาพ

     โชกุน เรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งในการเดินทางไปเยือนญี่ปุ่นของนาย สมคิด จาตุรศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ระหว่างวันที่ 25-28 พฤศจิกายนนี้ คือ จะขอให้ญี่ปุ่นช่วยไทยให้ได้เข้าร่วมกลุ่มความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือทีพีพี ด้วย ญี่ปุ่นนั้น ถือว่าเป็นผู้นำร่วมกับสหรัฐฯ ในกลุ่มทีพีพี ซึ่งมีสมาชิก 12 ประเทศ และเพิ่งบรรลุข้อตกลงการตั้งเขตเสรี การค้าเสรี เอเชีย แปซิฟิก ซึ่งจะเป็นเขตการค้าเสรีใ...อ่านรายละเอียดบทความทั้งหมด

ปิดประชุมวิชาการนานาชาติอาเซียน ไทยประกาศโรดแมพขับเคลื่อนกระบวนการเอชไอเอในอาเซียน

   ปิดการประชุมประชุมวิชาการนานาชาติระดับอาเซียน เรื่อง การประเมินผลกระทบและการบรรเทาผลกระทบ ภายใต้แนวคิดความร่วมมือและการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ ๑ เลขาธิการคณะ กรรมการสุขภาพแห่งชาติเผยผลสำเร็จประชุมตลอด 3 วัน สร้างกระบวนการเรียนรู้ผลกระทบจากการเจริญ เติบโตเศรษฐกิจ พร้อมประกาศโรดแมพสร้างพลังเครือข่ายอาเซียนขับเคลื่อนกลไก HIA สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
 

กรรมการสุขภาพแห่งชาติจัดประชุมวิชาการเอชไอเอนานาชาติ รวมพลังเครือข่าย สร้างประชาคมอาเซียนที่ยั่งยืน

   เปิดฉากการประชุมวิชาการนานาชาติระดับอาเซียน การประเมินผลกระทบและการบรรเทาผลกระทบภายใต้แนวคิดความร่วมมือและการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ ๑ รองนายกรัฐมนตรี ย้ำความร่วมมือระดับประเทศ ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสู่สังคมสุขภาวะภูมิภาคอาเซียน แบ่งปันเอื้ออาทรควบคู่กับการพัฒนา
 

เอดีบีหนุนโครงการพลังงานสะอาด เชื่อมโยงเครือข่ายการพัฒนาพลังงานในภูมิภาคอาเซียน

   ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) หนุนโครงการพลังงานสะอาด หนทางสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ตั้งเป้า 5 ปี ขยายปล่อยกู้ 7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เร่งพัฒนาพลังงานและโครงข่ายไฟฟ้าอาเซียน ขณะที่กรีนพีซยกบทเรียนความเสียหายจากมลพิษโรงไฟฟ้าถ่านหินอินโดนีเซีย เตือนประเทศสมาชิกอาเซียนทบทวนแผนขยายโรงไฟฟ้าถ่านหิน ชี้ต้นทุนต่ำแต่ไม่คุ้มค่าการป้องกันเยียวยาผลกระทบ
 

รายงานมลพิษรง.ไฟฟ้าถ่านหิน

     เมื่อวันที่ 19 พ.ย. ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมแถลงเปิดเผยรายงาน เรื่องต้นทุนชีวิต โรงไฟฟ้าถ่านหินกับภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนไทย โดยมีนายสุริชัย หวันแก้ว คณะกรรมการสุขภาพของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และผอ.ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาฯ น.ส.จริยา เสนพงศ์ ผู้ประสานงานรณรงค์ด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลง...อ่านรายละเอียดบทความทั้งหมด

บอร์ด HIA ห่วงสุขภาพชุมชนมีมติประเมินผลกระทบ ๒ โรงไฟฟ้าขยะ

   คณะกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เห็นชอบให้ทำ HIA ของโครงการโรงไฟฟ้าขยะ ๒ โรง ที่ จ.หนองคาย และ จ.สระบุรี หวั่นสุขภาวะชุมชนและสภาพแวดล้อมย่ำแย่ เตรียมระดมทุกภาคส่วน ร่วมกันวางกรอบการตัดสินใจที่เหมาะสมกับโรงไฟฟ้าขยะทั่วประเทศ ป้องกันผลกระทบและลดความขัดแย้งในพื้นที่
 

ยึด'เทพาโมเดล'หนุนชุมชนหารือโรงไฟฟ้าถ่านหิน

   เชื่อว่าจะส่งผลกระทบต่อการกัดเซาะชายฝั่งแน่นอน โดยแนวกันคลื่นที่วางแผนที่ระบุว่าใช้ดูดน้ำทะเลเพื่อหล่อเย็นนั้น จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ซึ่งมีตัวอย่างให้เห็นคือท่าเทียบเรือสงขลา 2.นักวิชาการที่ทำHIAหรือ EHIA ส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่กับชาวบ้านไปตลอด เมื่อทำเสร็จก็กลับไป ในอนาคตหากชาวบ้านมีปัญหาจะหันหน้าไปพึ่งใคร นักวิชาการยังหนุนใช้พลังงานอื่น 3.การดูดน้ำถ้ามีการป้องกันเพรียงไม่ให้เกาะก็ต้องใช้สารเคมี...  อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

หน้า