เอชไอเอ

วงวิชาการดัน ‘HIA’ สร้างสุขภาวะอีสาน แก้ปัญหาผลกระทบ ‘โรงไฟฟ้าชีวมวล’

   นักวิชาการเผยสถานการณ์ ‘โรงไฟฟ้าชีวมวล’ พบภาคอีสาน 15 จังหวัด มีโรงไฟฟ้าจ่ายไฟเข้าระบบแล้ว 71 บริษัท หวั่นชาวบ้านอ่วมสารเคมี เหตุแผนพลังงานทดแทนฯ เพิ่มพื้นที่ปลูกอ้อยอีกกว่า 6 ล้านไร่ ด้าน สช.ผนึกภาคีจัดทำ “ข้อเสนอเชิงนโยบาย” จากการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) เพื่อการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน
 

สช. ดันแผนยุทธศาสตร์ พัฒนา HIA ทั้งระบบ รองรับสถานการณ์สุขภาพในอนาคต

   สช. ลงนาม MOU ร่วมกับสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์ พร้อมประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) นัดแรก หวังพัฒนา HIA รองรับสถานการณ์สุขภาพในอนาคต ผลักดันงานวิชาการ บูรณาการการทำงานทุกภาคส่วน
 

คุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพว่าด้วยการดำรงชีวิต ในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพอย่างสร้างสรรค์

   “การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ” หรือ Health Impact Assessment (HIA) นับเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ เมื่อ ๑๐ ปีที่ผ่านมา ซึ่งกฎหมายได้ให้การรับรองสิทธิประชาชนที่จะดำรงอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และสามารถร้องขอและมีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะได้
 
   อย่างไรก็ตาม ด้วยหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และศัพท์แสงทางวิชาการ อาจทำให้ผู้คนจำนวนมากยังขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือนำเครื่องมือนี้ไปใช้อย่างแพร่หลาย
 

10ปี HIA
สช. พัฒนากลไก ‘เอชไอเอ’ ระดับภาค ตั้งโจทย์ เป็นเครื่องมือสร้างการเรียนรู้ ลดความขัดแย้ง

   มีคำกล่าวหนึ่งที่น่าสนใจจาก ที่ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนากลไกกระบวนการความร่วมมือการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพระดับภาค ซึ่งสามารถรวบยอดความคิดของ “การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เอชไอเอ” ได้เป็นอย่างดี นั่นก็คือ เอชไอเอเป็นระฆังที่ช่วยเตือนภัยให้กับชุมชนและท้องถิ่น
 
   ภายในการประชุม เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2560 สุทธิพงษ์ วสุโสภาพล ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้บอกเล่าทิศทางและกระบวนการสนับสนุนการดำเนินงาน “เอชไอเอ” ของ สช. ตอนหนึ่งว่า ทิศทางการพัฒนาหลังจากนี้จะมุ่งไปใน 5 มิติ ประกอบด้วย
 

เสริมพลัง สร้างการเรียนรู้ร่วมกันของ CHIA-ภาคกลาง 18-19 พฤษภาคม 2560

   เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ของ๗ กรณีของภาคกลาง กับคณะกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA Commission) นำโดยดร.เดชรัต สุขกำเนิด อ.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร บนความร่วมมือของสำนักขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (สข.) ทีมมูลนิธินโยบายสุขภาวะ ศูนย์พัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมภาคกลาง (ศก.) น้องๆ ศูนย์พัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (ศ.กทม.) และภาคีเครือข่ายนักวิชาการ (HIA Consortium) จากทั้งกรมควบคุมมลพิษ และมหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มาร่วมด้วยช่วยกันในการพัฒนางานการประเมินผลกระทบโดยชุมชน (CHIA)
 

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน”

   เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของ ๙ กรณีภาคอีสาน จัดขึ้นในวันที่ ๑๕ - ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.

ไม่เอาถ่านหินคือ'คำตอบ?''โรงไฟฟ้ากระบี่'

     กระบี่ มาจากแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ มีแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินจำนวน 4,400 เมกะวัตต์ และหนึ่งในพื้นที่เป้าหมายคือ จ.กระบี่ โดยมีความก้าวหน้าในระดับการทำการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environment and Health Impact Assessment :EHIA อีเอชไอเอ) และการสร้างการยอมรับให้แก่ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ทั้งนี้ ในอดีต จ.กระบี่ เคยเป็นพื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ลิกไนต์ขนาดกำลังผลิตรวมอ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

หน้า