ธรรมนูญสุขภาพ

รอยเกวียนแห่งการเรียนรู้สู่สังคมสุขภาวะ

     สุชน นนท์บุรี ช่วงสัปดาห์สุดท้าย ปลายเดือนที่ผ่านมา ผมมีโอกาส เข้าร่วมงานประชุมวิชชาการ 4 ภาค เพื่อถ่ายทอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับ "นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม" ในหลายๆ พื้นที่ งานนี้ มีภาคีเครือข่ายจากพื้นที่ภาคเหนือ อีสาน กลาง และภาคใต้ ทั้งภาครัฐ นักวิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) คล้องแขนกันมาจัด กระบวนการพัฒนาความรู้จากการ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมสร้างพลเมืองและประชาธิปไตยในชีวิตจริง

     ...กลับไปสู่อดีต ที่เป็นอย่างนี้ ส่วนหนึ่งต้องยกความดีให้รัฐธรรมนูญ 2540 และแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8 ซึ่งได้วางรากฐานในด้านประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมเอาไว้อย่างหนักแน่น รวมทั้งขบวนขับเคลื่อนการปฏิรูประบบสุขภาพที่ได้สร้างสรรค์เครื่องมือสำคัญที่เรียกว่า "กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม" (Participatory Healthy Public Policy Process-PHPP) ที่กำลังเสริมสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองและฝึกฝนระบบ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

ท้องถิ่นปริทรรศน์ ตอน โฮมสุขอีสาน

     ...934 คน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ) แต่คนอีสานก็มีภาษา มีผญา มีนิทานก้อม มีดนตรี มีร้องรำทำเพลงมีหมอลำ มีความพยายามป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ จากหน่วยงานทั้งรัฐ เอกชน ภาควิชาการและภาคประชาสังคม โดยเฉพาะสมัชชาสุขภาพทุกจังหวัดที่พยายามร่วมทุกข์ร่วมสุขในการสร้างนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ ที่มีนิยามไม่ใช่แค่เจ็บป่วยเท่านั้น แต่รวมถึงสุขภาวะทางจิตใจทางสังคมและทางปัญญา แม้ทุกข์ยากลำบากแต่สร้างความสุขได้ ปีนี้...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ จ.ร้อยเอ็ด

     ...ผู้สื่อข่าวรายงานว่าที่ห้องประชุมชั้น 7 ตึกเฉลิมพระเกียรติจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ต.ในเมือง อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด นายทรงพล ใจกริ่ม รองผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด กล่าวต้อนรับคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ โดย นพ.อำพล จินดาวัฒนะ เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑเลขาธิการมูลนิธิแพทย์ชนบท และคณะเครือข่ายจาก 11 จังหวัด...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

สช.ลงพื้นที่ดูงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

     คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เดินทางไปร่วมเวทีสัญจรศึกษาดูงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ จ.ร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการทำงานแบบเครือข่ายที่เข้มแข็งและมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในจังหวัด โดยบูรณาการ 3 เครื่องมือตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 อันได้แก่ สมัชชาสุขภาพจังหวัด ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ และการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ นพ.อำพล จินดาวัฒนะ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพ...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

กรรมการสุขภาพแห่งชาติสัญจรร้อยเอ็ด จุดประกาย สานพลังรัฐ-ชุมชน-เอกชน ร่วมสร้างสังคมสุขภาวะ

     เมื่อวันที่ 28-29 เมษายน 2559 คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติได้เดินทางร่วมกันใน เวทีสัญจรเพื่อ ศึกษาดูงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งได้แสดงศักยภาพของพื้นที่ที่มีการทำงานแบบเครือข่ายที่เข้มแข็งท่ามกลางปัญหาสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น โดยบูรณาการ 3 เครื่องมือตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 อันได้แก่ สมัชชาสุขภาพจังหวัด ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ และการประเมินผล...อ่านรายละเอียดข่าวทั้งหมด

คสช.ไฟเขียวร่างรธน.เพิ่มมิติ'สุขภาพจิต'

นพ.ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล นายแพทย์ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมสุขภาพจิต กล่าวว่า ในการประชุมคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) เมื่อวันที่ 25 มี.ค.ที่ผ่านมา มี พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ที่ประชุมเห็นชอบร่างรัฐธรรม นูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. ... ตามที่คณะกรรมการทบทวนธรรมนูญ ที่มี นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา เป็นประธานได้เสนอ ซึ่งในร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้เพิ่มมิติของ...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ๕ ปี สุขภาพดีด้วยภูมิปัญญาไทย

   คณะกรรมการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพแห่งชาติ เร่งวางแผนยุทธศาสตร์ ๕ ปี พัฒนาแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก เชื่อมโยงกลไกการทำงานสู่ระดับท้องถิ่นมากขึ้น โดยใช้กลไกสมัชชาสุขภาพ พร้อมคัดเลือก ‘หมอไทยดีเด่นแห่งชาติ’ หวังสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้ประสบความสำเร็จ
 
   เมื่อเร็วๆ นี้ ได้มี การประชุมคณะกรรมการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๙ ซึ่งมี นพ.วิชัย โชควิวัฒน เป็นประธาน พร้อมด้วยหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ณ ห้องประชุมสานใจ ๒ ชั้น ๖ อาคารสุขภาพแห่งชาติ
 

เตรียมนำ'พิมพ์เขียว'ร่างธรรมนูญระบบสุขภาพฯฉบับทบทวนเสนอรัฐบาล

     ...อีก 10 ปีข้างหน้า "ปัญหาสุขภาพ" จะถือเป็นเรื่องใหญ่ที่อยู่ใกล้ตัวคนไทยมากที่สุด ถ้าไม่เตรียมพร้อมด้วยการวางแผนแม่บทรับมือตั้งแต่วันนี้ อาจไม่มีเกราะป้องกันสารพัดภัยคุกคามสุขภาพในภายหลัง ขณะนี้ ร่างธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติฉบับทบทวน ได้ผ่านเวทีระดมความคิดเห็นมาหลากหลายรูปแบบ/เวที ถือเป็นการ "ปรับปรุง" เนื้อหาจากฉบับแรกคือ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ พ.ศ.2552 ให้ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์ใหม่ๆ ที่...อ่านรายละเอียดทั้งหมด

ธรรมนูญสุขภาพฉบับใหม่ใกล้คลอด เตรียมเสนอคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

   คณะกรรมการทบทวนธรรมนูญฯ ระดมกำลังพิจารณาร่าง ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับทบทวน เปิด ๕ หมวดใหม่ เพิ่มจาก ๑๒ หมวดเดิม มั่นใจเป็นกรอบทิศทางยกระดับการสร้างสุขภาวะคนไทยใน ๑๐ ปีข้างหน้า
 

หน้า